งานตรวจสอบภายใน
การควบคุมภายในเป็นกระบวนการหนึ่งที่สำคัญกับการ
ดำเนินธุรกิจ การควบคุมภายในที่ดีจะช่วยควบคุมการ
ดำเนินงานของกิจการให้บรรลุวัตถุประสงค์และ
ควบคุมการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ



• รวมข้อมูลธุรกิจ •

✅ วางแผนการตรวจสอบ
✅ ประเมินระบบและความเสี่ยง   
✅ วิเคราะห์และกำหนดแนวทางที่ใช้ในกระบวนการตรวจสอบ 
✅ รวมรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ และรายงานข้อมูล ข้อเท็จจริง ความเสี่ยง และเสนอแนะ
การควบคุมภายในประกอบด้วย

1. ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน
2. ความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงินและการบริหาร
3. การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ และนโยบายภายใน

ขั้นตอนการทำงาน

1.  แผนการตรวจสอบภายใน
2. ประมวลผลการตรวจสอบภายใน
3. รายงานและการตรวจสอบ
4. ประเมินความเสี่ยง
ประโยชน์จากการตรวจสอบภายใน

1. ช่วยให้การประเมินตรวจสอบระบบเป็นไปอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
2. ช่วยหาสาเหตุปัญหาที่แท้จริงได้
3. ช่วยป้องกันการทุจริต
4. ช่วยปรับปรุงระบบควบคุมภายในอย่างมีประสิทธิภาพก่อนเตรียมตัว เข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์



โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสียตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี

ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจมีทั้งภายในและ
ภายนอกองค์กร โดยกลุ่มหลักประกอบด้วย 
ผู้ถือหุ้น(Shareholder) ซึ่งแต่งตั้ง คณะกรรมการ (Board) เข้ามาทำหน้าที่ควบคุมและกำกับดูแล
การทำงานของ ฝ่ายจัดการ (Management) ให้
บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ รวมถึงคณะกรรมการ
ยังต้องทำหน้าที่สานประโยชน์ระหว่างผู้มีส่วนได้เสีย
กลุ่มต่างๆ ไม่ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
และให้เกิดความสมดุล  ดังนั้นนอกจากบริษัทควร
เข้าใจความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วน
ได้เสียที่มีความแตกต่างกันแล้ว ยังต้องกำหนด
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละกลุ่ม
ในระบบการกำกับดูแลกิจการไว้อย่างชัดเจนและ
อย่างมีจริยธรรม รวมถึงสอดคล้องตามที่กฏหมาย
กำหนดและตามแนวทางการกำกับดูแลกิจการที่ดี



บทความ
                              
                                                         
                                                         
                                                       



Contact